วัดธาตุประสิทธิ์

วัดธาตุประสิทธิ์ แต่เดิมชื่อ“ วัดธาตุ” ตั้งขึ้นพร้อมกับการสร้างบ้านนาหว้าเมื่อครั้งไทญ้อจากเมืองป่งลิงอพยพหาทำเลสร้างบ้านเมือง จนมาพบทำเลบริเวณบ้านนาหว้าปัจจุบัน มีเจดีย์เก่าแก่ที่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างมาในสมัยใดลักษณะเป็นเจดีย์รูปสี่เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสองฐานเจดีย์กว้างด้านละประมาณ ๗ เมตรเท่ากันทั้งสี่ด้านสูงประมาณ ๓๐ เมตรฐานข้อนกันเป็นชั้น ๆ อิฐที่ใช้ทำการก่อสร้างเป็นอิฐขนาดใหญ่มีซุ้มจัตุรมุข

เชื่อว่าแต่เดิมคงมีพระพุทธรูปประดิษฐานอยู่พระเจดีย์องค์นี้มีลักษณะคล้ายกับเจดีย์วัดศรีบุญเรืองบ้านเวียงคุกหรือเจดีย์วัดนาคชานนครเวียงจันทน์ สันนิษฐานว่าอาจสร้างรุ่นราวคราวเดียวกัน แต่เจดีย์ในอีสานสมัยโบราณส่วนใหญ่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์จากกษัตริย์ ๑ ล้านช้าง ได้แก่ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (เจ้าเชษฐวังโส) พระเจ้าบัณฑิตโพธิสารหรือพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๒ ( ตำนานธาตุโพน เรียกพระยาแสนหลวงนคร ตำนานธาตุพนม เรียก พระเจ้านครหลวงพิชิตทศทิศราชธานีศรีโคตรบูรหลวง หรือพระเจ้าชัยวงศาราชบุตรมหาฤาไชยไตรทศฤาเดชเชษฐบุรีศรีโคตรบูรณ์หลวงก็เรียกนามเดิมคือเจ้าองค์หล่อ )

พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชเป็นต้นพระเจดีย์เก่าบ้านนาหว้า นี้จากคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่รุ่นปู่ย่าตาทวดได้ไปค้าขายทางพม่าตอนใต้มีผู้ถามถึงเจดียบ้านนาหว้าและบอกว่าสมัยรุ่นปู่ย่าตาหวดของพวกเขาเคยมาอยู่บ้านนาหว้าและเคยบูรณปฏิสังขรณ์พระเจดีย์ แต่ได้ถูกพม่ากวาดต้อนเป็นเชลยไปอยู่เมืองพม่า พ.ศ. ๒๔๓๖ (ก่อนเกิดเรื่องผีบุญ พ.ศ. ๒๔๔๓ / ๗ ปี) ในฤดูหนาวพระเจดีย์องค์นี้ได้หักพังองโดยหักพังไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ (จากคำบอกเล่าของจารย์ดอนรักษาเคนซึ่งได้รับการบอกเล่าต่อมาจากปู่คือทิดโคงโดยเล่าว่าขณะที่พระธาตุหักพังลงมานั้นทิดโคงกำลังนั่งผิงไฟอยู่ใต้ต้นมะขาม) โดยหักพังลงเป็นระยะความสูงจากระดัมดินประมาณ ๕ เมตร

ครูสนธิ์วงศพัศน์ซึ่งเคยเขียนประวัติบ้านนาหว้าและวัดธาตุประสิทธิ์ในหนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพระครูประสิทธิ์ศึกษากร (สิงห์ ธ มมวโร) กล่าวไว้ว่าตนบรรพชาเป็นสามเณรเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๔ เคยขึ้นไปทำความสะอาดบนฐานเจดีย์ที่หักมีต้นไม้เล็ก ๆ และหญ้าปกคลุมอยู่พนบาตรขนาดใหญ่หลายใบตั้งอยู่ภายในบาตรแต่ละใบพบพระพุทธรูปทองคำพระพุทธรูปบุด้วยแผ่นเงิน

พระพุทธรูปเงินโบราณพระพุทธรูปทำด้วยว่านเกสรดอกไม้หุ้มเงินหุ้มทองพระพุทธรูปทรงเครื่องและพระพุทธรูปดินเผามีขนาดแตกต่างกันจำนวนหลายองค์) พ.ศ. ๒๔๙๙ พระครูประสิทธิ์ศึกษากร (สิงห์ ธ มมวโร) เจ้าอาวาสวัดธาตุประสิทธิ์ได้ดำเนินการก่อสร้างพระธาตุเจดีย์องค์ใหม่ได้ย้ายเศษอิฐและซื้อฐานเจดีย์องค์เก่าออกให้ได้ระดับเดียวกันกับพื้นดินจึงได้รวบรวมพระพุทธรูปทองคำพระพุทธรูปบุด้วยแผ่นเงินพระพุทธรูปเงินโบราณพระพุทธรูปทำด้วยว่านเกษรดอกไม้หุ้มเงินหุ้มทองพระพุทธรูป

ในฤดูหนาวพระเจดีย์องค์นี้ได้หักพังองโดยหักพังไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ (จากคำบอกเล่าของจารย์ดอนรักษาเคนซึ่งได้รับการบอกเล่าต่อมาจากปู่คือทิดโคงโดยเล่าว่าขณะที่พระธาตุหักพังลงมานั้นทิดโคงกำลังนั่งผิงไฟอยู่ใต้ต้นมะขาม) โดยหักพังลงเป็นระยะความสูงจากระดัมดินประมาณ ๕ เมตร (ครูสนธิ์วงศพัศน์ซึ่งเคยเขียนประวัติบ้านนาหว้าและวัดธาตุประสิทธิ์ในหนังสืออนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพพระครูประสิทธิ์ศึกษากร (สิงห์ ธ มมวโร) กล่าวไว้ว่าตนบรรพชาเป็นสามเณรเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๔ เคยขึ้นไปทำความสะอาดบนฐานเจดีย์ที่หักมีต้นไม้เล็ก ๆ และหญ้าปกคลุมอยู่พนบาตรขนาดใหญ่หลายใบตั้งอยู่ภายใน

บาตรแต่ละใบพบพระพุทธรูปทองคำพระพุทธรูปบุด้วยแผ่นเงินพระพุทธรูปเงินโบราณพระพุทธรูปทำด้วยว่านเกสรดอกไม้หุ้มเงินหุ้มทองพระพุทธรูปทรงเครื่องและพระพุทธรูปดินเผามีขนาดแตกต่างกันจำนวนหลายองค์) พ.ศ. ๒๔๙๙ พระครูประสิทธิ์ศึกษากร (สิงห์ ธ มมวโร) เจ้าอาวาสวัดธาตุประสิทธิ์ได้ดำเนินการก่อสร้างพระธาตุเจดีย์องค์ใหม่ได้ย้ายเศษอิฐและซื้อฐานเจดีย์องค์เก่าออกให้ได้ระดับเดียวกันกับพื้นดินจึงได้รวบรวมพระพุทธรูปทองคำพระพุทธรูปบุด้วยแผ่นเงินพระพุทธรูปเงินโบราณพระพุทธรูปทำด้วยว่านเกษรดอกไม้หุ้มเงินหุ้มทองพระพุทธรูปทรงเครื่องและพระพุทธรูปดินเผาจากฐานเจดีย์องค์เดิม

เมื่อพิจารณาจากลักษณะองค์พระพุทธรูปแต่ละองค์แล้วพบว่าเป็นพระพุทธรูปที่สร้างต่างยุคต่างสมัยกันแต่มีพระพุทธรูปหลายองค์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับพระพุทธรูปที่พบในวัดพระธาตุพนมสันนิษฐานว่าอาจมาจากบริเวณเดียวกันและนอกจากนี้ยังพบเครื่องใช้เครื่องประดับและของมีค่าจำนวนมากซึ่งชาวบ้านที่มาอยู่ก่อนและร่วมกันสร้างพระธาตุเจดีย์ขึ้นคงได้นำมาบรรจุลงคไว้ในฐานพระธาตุเพื่อเป็นที่สักการบูชาของชุมชนนั่นเองโดยได้สร้าง๑ เลียนแบบพระธาตุพนม

ลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสกว้างด้านละ ๗.๒๐ เมตรวัดโดยรอบฐาน ๒๔.๕๐ เมตรสูง ๒๔.๕๒ เมตรมีประตูเปิด-ปิด ๒ ด้านและได้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุรวม๑๔ พระองค์และดินจากสังเวชนียสถาน ๔ แห่งคือที่ประสูติตรัสรู้แสดงพระธรรมเทศนาและปรินิพพานและพระพุทธรูปที่พบในเจดีย์องค์เก่ามาบรรจุไว้ในองค์พระธาตุด้วยการก่อสร้างพระธาตุเจดีย์องค์ใหม่นี้แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๖ พร้อมตั้งชื่อองค์พระธาตุใหม่ว่า “พระธาตุประสิทธิ์ ตามราชทินนามของพระครูประสิทธิ์ศึกษากรเจ้าอาวาสผู้ก่อสร้างนั่นเอง

ภายในพระธาตุประสิทธิ์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุและอรหันตธาตุเจ้ารวม ๑๔ พระองค์และดินจากสังเวชนียะสถาน ๔ แห่งคือที่ประสูติตรัสรู้แสดงพระธรรมจักรและปรินิพพานนอกจากนี้ยังมีพระพุทธบาทจำลองที่อัญเชิญมาจากกรุงเทพฯเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ การก่อสร้างพระธาตุเจดีย์องค์ใหม่นี้แล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๖ ต่อมาเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔ พระครูศรีวชิรากร (เจ้าคณะอำเภอนาหว้ารูปที่ ๓) ปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นพระราชสิริวัฒน์ (รองเจ้าคณะจังหวัดนครพนม) ได้ทำการเปลี่ยนฉัตรองค์พระธาตุใหม่ฉัตรทำด้วยทองคำหนัก ๕๙ บาท

ประกอบพิธียกฉัตรเมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔ โดย คุณหญิงพันธ์เครือยงใจยุทธ ตามคำบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่ที่เคยบวชเรียนเขียนอ่านอยู่ในวัดธาตุประสิทธิ์เล่าว่าในอดีตตามโคนต้นโพธิ์โคนต้นมะม่วงโคนต้นขนุนหรือข้างเจดีย์จะมีชิ้นส่วนพระพุทยย ธ รูปที่ชำรุดสลักด้วยหินทรายวางระเคระกะอยู่เป็นจำนวนมาก ( ศิลปะแกะสลักพระพุทธรูปในหินทรายเป็นศิลปะลพบุรี ) แต่ปัจจุบันไม่พมคาดว่าคงถูกดินทับถมไปหมดแล้วพบกะตีบหลังหนึ่ง

ลักษณะเหมือนอุโบสถมีหน้าต่างเล็ก ๆ ภายในมืดสนิท (ภาษาถิ่นเรียกว่า“ มีดตีบ “) มองอะไรไม่เห็นสันนิษฐานว่าสร้างไว้เพื่อเป็นที่ปลุกเสกของขลังตามลัทธิความเชื่อทางไสยศาสตร์ตั้งแต่สมัยไทญ้อได้เข้ามาตั้งบ้านปัจจุบันได้รื้อออกแล้วอุโบสถหลังเดิมหันหน้าไปทางทิศตะวันตกมีบันไดขึ้นด้านหน้าสองข้างด้านหลังเขียนตัวนูนด้วยอักษรพม่าปั้นลมปั้นชายประดับด้วยไม้ฉลุสวยงาม

ปัจจุบันได้ซื้อสร้างใหม่โรงธรรม(ศาลาการเปรียญ) หลังเก่าหันหน้าไปทางทิศใต้มีขนาดใหญ่มากสร้างด้วยไม้เสาที่นำมาสร้างมีขนาดใหญ่คนเดียวโอบไม่รอบในการขนย้ายจากป่าต้องใช้ล้อไม้ขนาดใหญ่ปัจจุบันได้รื้อสร้างใหม่ตายหิน (กำแหน่ง)ลักษณะการก่อสร้างแปลกไปจากวัดอื่นคือใช้ก้อนหินจำนวนมากมาเรียงให้สูงขึ้นไปจนรอบวัดมีขนาดกว้าง 9 เมตรสูง ๑.๕๐ เมตรจนรอบวัดเป็นกำแพงอย่างแน่นหนาปัจจุบันได้รื้อสร้างใหม่ด้วยอิฐแทนแต่ยังปรากฏให้เห็นอยู่บ้างเป็นบางส่วนทางด้านทิศตะวันออกบริเวณหน้าองค์พระธาตุ

คาถาบูชาพระธาตุประสิทธิ์ของคนเกิดวันพฤหัสบดีคือ ภะ สัม สัม วิ สะ เท ภะ

สิ่งของบูชาพระธาตุคือธูป ๑๙ ดอกเทียน ๒ เล่ม

“ พระธาตุประสิทธิ์” ประดิษฐานอยู่ที่วัดพระธาตุประสิทธิ์อำเภอนาหว้าระยะทางห่างจากจังหวัดนครพนม 93 กิโลเมตรเดิมเป็นเจดีย์โบราณไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างเมื่อใดจนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. 2436ได้มีการบูรณะซ่อมแซมครั้งใหญ่โดยจำลองรูปทรงมาจากองค์พระธาตุพนมลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมวัดโดยรอบฐานได้ 20.80 เมตรสูง 28.52 เมตรภายในบรรจุพระบสารีริกธาตุและพระอรหันตสารีริกธาตุรวม 7 องค์
พระพุทธรูปเก่าแก่ดินจากสังเวชนียสถานในประเทศอินเดีย 4 แห่งและพระพุทธบาทจำลองที่อัญเชิญมาจากกรุงเทพมหานครเมื่อปี พ.ศ. 2500ตามตำนานบอกไว้ว่าพระธาตุประสิทธิ์นี้มีพระเป็นผู้สร้างและเทพประจำวันพฤหัสบดีพระฤษีพราหมณ์ผู้เฒ่าที่สำคัญพระประธานของวัดอยู่ประจำทิศตะวันตกตรงกับพระพฤหัสบดีที่อยู่ทิศตะวันตกเช่นกัน

วัดธาตุประสิทธิ์ แต่เดิมชื่อ“ วัดธาตุ” ตั้งขึ้นพร้อมกับการสร้างบ้านนาหว้าเมื่อครั้งไทญ้อจากเมืองป่งลิงอพยพหาทำเลสร้างบ้านเมืองจนมาพบทำเลบริเวณบ้านนาหว้าปัจจุบันมีเจดีย์เก่าแก่ที่ไม่ปรากฏหลักฐานว่าสร้างมาในสมัยใดลักษณะเป็นเจดีย์รูปสี่เหลี่ยมย่อมุมไม้สิบสองฐานเจดีย์กว้างด้านละประมาณ ๗ เมตรเท่ากันทั้งสี่ด้านสูงประมาณ ๓๐ เมตรฐานซ้อนกันเป็นชั้น ๆ อิฐที่ใช้ทำการก่อสร้างเป็นอิฐขนาดใหญ่มีซุ้มจัตุรมุขเชื่อว่า แต่เดิมคงมีพระพุทธรูปประดิษฐานอยู่พระเจดีย์องค์นี้มีลักษณะคล้ายกับเจดีย์วัดศรีบุญเรืองบ้านเวียงคุกหรือเจดีย์วัดนาคซานนครเวียงจันทน์สันนิษฐานว่าอาจสร้างรุ่นราวคราวเดียวกัน

แต่เจดีย์ในอีสานสมัยโบราณส่วนใหญ่ได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์จากกษัตริย์ล้านข้าง ได้แก่ พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช (เจ้าเชษฐวังโส) พระเจ้าบัณฑิตโพธิสารหรือพระเจ้าไชยเซษฐาธิราชที่ ๒ ตำนานธาตุโฟนเรียกพระยาแสนหลวงนครตำนานธาตุพนมเรียกพระเจ้านครหลวงพิชิตทศทิศราชธานีศรีโคตรบูรหลวงหรือพระเจ้าขัติยวงศาราชบุตรมหาตุไชยไตรทศตุเดซเชษฐบุรีศรีโคตรบูรณ์หลวงก็เรียกนามเดิมคือเจ้าองค์หล่อพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชเป็นต้น


พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (ปัจจุบัน ) เสด็จพระราชดำเนิน ถวายผ้าพระกฐิน ณ วัดพระธาตุประสิทธิ์ และทรงเยี่ยมราษฏร อำเภอนาหว้า เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2515