พระธาตุหลวง หรือ พระเจดีย์โลกะจุฬามณี (ลาว: ທາດຫລວງ หรือ ลาว: ພຣະທາດຫລວງ)

พระธาตุหลวงเวียงจันทน์พระธาตุหลวงเจดีย์ใหญ่สวยงามที่สุดในพระราชอาณาจักรลาวสถาปัตยกรรมธาตุหลวงเป็นศิลปกรรมลาวโบราณถือว่าเป็นศิลปะกรรมปลาโบราณไว้อย่างครบถ้วนเพื่อเป็นหลักฐานการก่อสร้างให้แก่คนรุ่นหลังทราบว่าการก่อสร้างเมื่อ 400 ปีที่ผ่านมาทำให้เข้าใจการดำรงค์ชีวิตสมัยล้านช้างในสมัย 400 ปีที่ผ่านมา

พระธาตุหลวง เวียงจันทน์

เรื่องราวของพระธาตุหลวงมีส่วนเกี่ยวพันธุ์กับพระธาตุพนมพระธาตุอื่นๆที่สร้างขึ้นโดยช่างลาวโบราณ มีหลักฐานมาจากแหล่งเดียวกันคือหนังสืออุรังคธาตุหรืออุรังคนิทานซึ่งเป็นนิทานโบราณของลาวเรื่องนึง ในหนังสืออุรังคธาตุกล่าวว่าพระธาตุหลวงฟังอยู่ที่ประดิษฐานเสาหินของพระเจ้าอโศกมหาราชประเทศอินเดียเสาหินซึ่งบรรจุไว้ซึ่งพระสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า เรียกว่าหนองคันแท

จากหลักฐาน ตำนานหนังสืออุรังคะธาตุกล่าวว่าเป็นสถานที่ประดิษฐานเสาหินของพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งประเทศอินเดียเสาหินแห่งนี้บรรจุไว้ซึ่งพระบรมมาสารีริกธาตุของพระเจ้า ซึ่งเกี่ยวพันกับพระพุทธเจ้าว่าพระพุทธเจ้าจะเสด็จเยี่ยมสถานที่สำคัญต่างๆเพื่อเป็นอุบายอย่างหนึ่งของนักซึ่งเกี่ยวพันกับพระพุทธเจ้าว่าพระพุทธเจ้าจะเสด็จเยี่ยมสถานที่สำคัญต่างๆ เพื่อเป็นอุบายอย่างหนึ่งของนักปราชโบราณเพื่อชักจูงความเชื่อถือให้ประชาชนเห็นความสำคัญของปูชนียสถานเหล่านี้

รูปวาดเก่าของพระธาตุหลวง สปป.ล าว
รูปวาดสีน้ำมันของพระยาจันทะบุรีหรือพระยาบุรีจัน อวยล่วย ที่แสดงในกรมเลียนพระทาดหลวง

จากหลักฐานโบราณคดีลักษณะของพระพุทธรูปหินจากฐานรากของด้วยหินศิลาแลง สันนิษฐานได้ว่าพระธาตุหลวงเคยเป็นเสาหินสร้างขึ้นประมาณศตวรรษที่หกในสมัยอาณาจักรศรีโคตรตะบองหรือสมัยก่อนเขมรโบราณ จะมีอำนาจครอบครองแผ่นดินของประเทศลาวหนังสืออุรังคะธาตุบางตอนกล่าวว่า " พระยาบุรีจัน " ผู้สร้างนครหลวงเวียงจันทน์ได้รับคำบอกเล่าจากพระเถระชาวอินเดียว่าที่นี่เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์เป็นที่บรรจุพระสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าทั้งหลายในขณะที่นครหลวงเวียงจันทน์เป็นเมืองขึ้นของเมืองศรีโคตรตะบองหรือมฤขนคร(ท่าแขกเก่า)

รูปวาดบุญพระธาตุหลวง

พระธาตุหลวงเวียงจันทน์ศิลปะลาวโบราณสถาปัตยกรรมจุลศิลป์บ่งบอกถึงอดีตจาก 400 ปีทำให้เข้าใจถึงการดำรงค์ชีวิตอยู่อาศัยลักษณะของเมืองลาวสมัย ล้านช้าง ซึ่งความเป็นมาของวัดธาตุอันสวยงามยิ่งใหญ่ที่สุดในราชอาณาจักรลาวแห่งนี้มีความเกี่ยวพันธ์กับพระธาตุพนมและพระธาตุที่สร้างขึ้นโดยช่างโบราณ ซึ่งความเป็นมาของวัดธาตุอันสวยงามยิ่งใหญ่ที่สุดในราชอาณาจักรลาวแห่งนี้

มีความเกี่ยวพันธ์กับพระธาตุพนมและพระธาตุที่สร้างขึ้นโดยช่างโบราณ ซึ่งความเป็นมาของวัดธาตุอันสวยงามยิ่งใหญ่ที่สุดในราชอาณาจักรลาวแห่งนี้มีความเกี่ยวพันธ์กับพระธาตุพนมและพระธาตุที่สร้างขึ้นโดยช่างลาวโบราณพระธาตุหลวงเวียงจันทร์จากหลักฐานที่ปรากฏเริ่มต้นที่ศตวรรษที่ 16 ในราชการของสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชเนื้อศิลาบอกไว้ว่าได้สร้างขึ้นเมื่อจุลศักราช928(คศ1566)หลังจากสถาปนาเวียงจันทน์เป็นเมืองหลวง 6 ปี

จากฐานรากของด้วยศิลาแลงลักษณะของพระพุทธรูปหินศิลาแรง สันนิษฐานได้ว่าพระธาตุหลวงเคยเป็นเสาหินสร้างขึ้นประมาณศตวรรษที่หกในสมัยอาณาจักรศรีโคตรตะบองหรือสมัยก่อนเขมรโบราณ จะมีอำนาจครอบครองแผ่นดินของประเทศลาว

รูปวาดเก่าของทีมที่มงานช่างปรับปรุงซ่อมแซมพระธาตุหลวง

เมื่อคราวสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชที่หนึ่งได้ย้ายเมืองหลวงจากเมืองเชียงทองหรือหลวงพระบางมาตั้งเมืองเวียงจันทน์แทนก็เลยสร้างเจดีย์คร่อมเสาหินที่พระยาจันทบุรีสร้างขึ้น เพื่อบรรจุพระบรมมาสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้าตามแบบอย่างของพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งอินเดีย ต่อมาในศตวรรษที่ 6 อำนาจของเขมรโบราณได้แพร่เข้ามาครอบครองดินแดนล้านช้าง โดยมีศูนย์กลางการปกครองอยู่ที่เมืองหาดทรายฟอง ที่ได้ค้นพบประติมากรรมขอมเช่นอนุสาวรีย์พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ซึ่งประดิษฐานอยู่ที่วิหารน้อยข้างพระทาดทางทิศเหนือ

รูปวาดเก่าของพระธาตุหลวง

จากการสำรวจพระพุทธรูปหินที่ " ถ้ำวังช้าง "เมืองโพนโฮง จากหลักฐานปรากฏว่าสร้างขึ้นประมาณคริสตศักราช 1002 ในรัชกาลของพระเจ้าสุริยวรมัณห์ที่ 1ที่น่าสนใจที่สุดคือศิลาเรื่องสร้างโรงพยาบาลที่เมืองหาดทรายฟองในรัชกาลของพระเจ้า ชัยยะวรมันที่ 7 จากหลักฐานนี้แสดงให้เห็นว่าเวียงจันทน์ได้ให้ความสำคัญแก่เมืองหาดทรายฟองให้เป็นเมืองหลวง เริ่มจากปลายศตวรรษที่ 9 แต่ว่าเรื่องราวของพระธาตุหลวงก็ไม่มีปรากฎ หลักฐานใดใดอย่างแจ่มแจ้งเพียงแต่มีคำบอกเล่าสืบต่อกันมาจนถึงศตวรรษที่ 14 สมัยที่อาณาจักรล้านช้างมีอำนาจขึ้นทดแทนเขมรโบราณ พระมหาปัสมันเถระหัวหน้าธรรมทูตเขมรได้เดินทางมาเผยแพร่พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทสายลังกาเมื่อค.ศ. 1359 ในรัชกาลสมัยพระยาฟ้างุ้มระหว่างพักอยู่เมืองเวียงจันทน์

รูปวาดเก่าของพระธาตุหลวง ลาว

จากเนื้อความของศิลาบอกไว้ว่าสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชได้สร้างขึ้นเมื่อจุลศักราช 928 หลังจากสถาปนานครหลวงเวียงจันทน์เป็นเมืองหลวงหกปีสาเหตุที่สร้างวัดธาตุหลวงดังนี้

……..ข้าฯปรารถนาให้สุขนครหลวงของพระองค์มีปูชนียสถานอันยิ่งใหญ่และเป็นมิ่งขวัญของนครหลวงคล้ายเจดีย์หลวงแห่งนครเชียงใหม่

……..ข้าฯปรารถนาอุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนาตามแบบอย่างของพระเจ้าติโลกราชแห่งนครหลวงเชียงใหม่หรือเหมือนพระเจ้าอโศกมหาราช แห่งอินเดีย

……..ข้าฯ (สมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช)ได้ปรารถนาอยากเป็นพระโพธิสัตว์เพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต

……..ข้าฯปรารถนาอยากให้มีบุญประจำปีเพื่อเป็นนโยบายทดสอบน้ำใจของเจ้าของนครต่างๆว่ามีความซื่อสัตย์ต่อพระองค์แทนพิธีเลี้ยงผีฟ้าผีแถนเหมือนสมัยก่อนที่พญาฟ้างุ้มและกษัตริย์องค์อื่นเคยทำมาเป็นประจำ

รูปวาดเก่าของพระธาตุหลวง สปป.ล าว

จากการนั้นสันนิษฐานเห็นว่าหลักหินทางทิศตะวันออกของพระนครคือพระธาตุหลวงปัจจุบันและอาจเป็นแหล่งสำคัญทางพระพุทธศาสนาแต่เก่าก่อนและเป็นที่บรรจุพระบรมมาสารีริกธาตุของพระเจ้าจึงได้พาไพร่พลสร้าง เจดีย์ใหญ่ คร่อมหลักหินโบราณโดยให้เจดีย์นี้มีรูปร่างเหมือนสถูป

โดยให้เจดีย์นี้มีรูปร่างเหมือนจะสถูป โดยให้เจดีย์นี้มีรูปร่างเหมือนสถูปศิลปะคล้ายอินเดียแต่ประดับตกแต่งด้วยศิลปะลาวล้วนเนื่องจากพระองค์ทรงปรารถนาโพธิญาณจึงได้มีแนวคิดสร้างพระธาตุองค์ 30 องค์ เป็นบริวารหมายถึงพระบอกเลยมี 30 ทิศ ภายในภาคเล็กเหล่านี้ได้เอาทองคำหล่อเป็นพระธาตุบริวารอีกมีจำนวนหน่วยละ 4 บาทบรรจุไว้ภายในพระธาตุ

เมื่อสร้างเสร็จแล้วได้ถวายพระนามว่า"พระเจดีย์โลกะจุฬามณี"หมายความว่าเจดีย์เกตุแก้ว ในโลกมนุษย์นี้หรือเจดีย์แก้วที่อยู่สุดของยอดโลก ปรารถนาอยากให้เมืองของพระธาตุองค์นี้เป็นของแผ่นดินเป็นประธาตุใหญ่ที่สุดมีความศักดิ์สิทธิ์ที่สุดประชาชนจึงเรียกว่าพระธาตหลวงแต่นิยมเรียกว่าพัดธาตุหลวงเวียงจันทร์เพราะว่า ชื่อไปซ้ำกันกับพระธาตุหลวงที่หลวงพระบาง

รูปปั้นพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
รูปปั้นพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แกะจากหินทราย แสดงอยู่พระธาตุหลวง เวียงจัน

พระธาตุหลวง ปัจจุบัน

พระธาตุหลวงเวียงจันทน์

ลักษณะโดยทั่วไปคล้ายแตงโมผ่าครึ่งวางบนฐานรูป 4 เหลี่ยม ยอดพระธาตุเป็นศิลปะลักษณะมีลักษณะเป็นดอกบัวตูมหรือวงปีรูปสี่เหลี่ยมมีประธาตุบริวารยอดแหลมแวดล้อมถัดลงมาเป็นกำแพงสองด้าน ยอดพระธาตุเป็นศิลปะลักษณะมีลักษณะเป็นดอกบัวตูมหรือวงปี รูปสี่เหลี่ยมมีพระธาตุบริวารยอดแหลมแวดล้อมถัดลงมาเป็นกำแพงสองชั้น ซึ่งประดับไปด้วยใบเสมาคล้ายกำแพงพระราชวังของปราสาทเข้าใจว่าสร้างตามอุดมคติของพระราชวังลาวโบราณวัสดุที่ใช้ก่อสร้างใช้อิฐแดงศิลาแลงโดยเฉพาะตัวพระธาตุ สร้างด้วยหินศิลาแลง

พระธาตุหลวงแบ่งเป็นส่วนส่วนสำคัญสำคัญได้ดังนี้

ระเบียงคดรอบองค์ประธานเปรียบเหมือนกำแพงเมืองฉันนอกยาว 91 เมตรกว้าง 75 เมตรมีประตูของ 4 ด้านกำแพงระเบียงคดมีช่องระบายอากาศลมภายในระเบียงคดคือ สนามพระธาตุ

ชั้นใต้สุดของพระธาตุเปรียบเหมือนกำแพงเมืองฉันกลางชั้นนี้เป็นชั้นของพระธาตุมีความกว้างจากทิศเหนือไปทางทิศใต้ 68 เมตรจากตะวันออกไปตะวันตก 49 เมตร

ฐานพระธาตุเป็นที่ตั้งของกำแพงชั้นนอกของพระธาตุกำแพงชนิดตกแต่งด้วยใบเสมา 323 ใบ จะเห็นหอไหว้หลังยอดทั้งสี่ด้านของชั้นประธานโดยเฉพาะด้านตะวันออก

หอไหว้ ได้คล่อมพระธาตุองค์เล็กเอาไว้พระธาตุองค์เล็กประดับตกแต่งด้วยลายพอกทองคำเปลวงดงามซึ่งอาจเป็นพระธาตุจำลองหรือพระธาตุเดิมก็ได้

APC_2336 (Small)

ชั้นที่สองของพระธาตุเปรียบเหมือนกำแพงเมืองชั้นนอกหมายถึงกำแพงแก้วอยู่ในหอไหว้กำแพงแก้ว มีประตูสี่ด้านมีบันไดขึ้นลงตกแต่งด้วยใบเสมา 223 ใบ ล้อมรอบด้วยใบบัวใหญ่ในลักษณะกำลังบานจำนวน 120 ใบ กำแพงชั้นนี้แวดล้อมเองก็ธาตุบริวารทั้งสาม 10 องเรียกว่าสัตว์ตัสสงสปารณีองค์พระธาตุบริวารเหมือนจะเป็นป้อมต้อนรับแวดวงมหาปราสาทคือพระธาตุองค์ใหญ่ไว้ กล่าวว่าพระธาตุบริวารเหล่านี้เมื่อก่อนมีทองคำโอบทั้งหมด

ชั้นที่สามเปรียบเหมือนประสาทและโรงหลวงชั้นนี้คือชั้นของธาตุใหญ่นั่นเอง ตั้งอยู่ภายในพระธาตุบริวารมีความกว้างด้านละ 30 เมตร แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือเตากระทะมีลักษณะเหมือนแตงโมผ่าครึ่ง ฐานยอดพระธาตุอยู่หลังพระธาตุ มีรูปสี่เหลี่ยมล้อมรอบด้วยดอกบัวกำลังบานยอดพระธาตุมีลักษณะสี่เหลี่ยม ส่วนปลายของพระธาตุมีรูปสี่เหลี่ยมเพื่อให้กลมกลืนกับตัวพระธาตุเลี้ยวเหมือนดอกบัวตูมความสูงของพระธาตุ 45 เมตร

รถตู้อุดรธานีไปลาว

ชั้นของพระธาตุมีความหมายคิอ ภูมิ หมายถึง พื้นเพรือชั้นของจิต และเจตสิกที่ละเอียดประณีตขึ้นไปตามลำดับ 

ขั้นที่ 1 กามาวจรภูมิ ชั้นท่องเที่ยวอยู่ในกาม

ขั้นที่ 2  รูปาวจรภูมิ ชั้นท่องเที่ยวอยู่ในรูป หมายถึง ชั้นแห่งจิตและเจตสิก 

ขั้นที่ 3 อรูปาวจรภูมิ ชั้นท่องเที่ยวในอรูปธรรมเป็นอารมณ์

พระพุทธรูปโบราณที่นำมาวางแสดงรอบๆกรมเลียน พระธาตุหลวงเวียงจันทน์

พระพุทธรูปปางชนะมาร

พระพุทธรูปปางชนะมาร สร้างจากทองสำฤทธิ์ ศิลปสิงหล ยุคก่อนล้านช้างในศตวรรตที่ 13

พระพุทธรูปปางห้ามญาติ

พระพุทธรูปปางห้ามญาติ สร้างจากทองสำฤทธิ์ ศิลปสิงหล ยุคก่อนล้านช้างในศตวรรตที่ 13

พระพุทธรูปปางสมาธิ สร้างจากทองสำฤทธิ์ ศิลป ล้านช้าง สร้างในปี 1957

พระพุทธรูปปางชนะมาร

พระพุทธรูปปางสมาธิ สร้างจากทองสำฤทธิ์ ศิลป ล้านช้าง สร้างในปี 1957.

ทัวร์ลาว โดยทีมงานคุณภาพไทยลาว

Call Now Buttonสอบถามเพิ่มเติม โทรเลยครับ